องค์ประกอบสำคัญของอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว
แหล่งท่องเที่ยว หากไร้ซึ่งแหล่งท่องเที่ยวแล้ว คงไม่มีนักท่องเที่ยวอยากเดินทางเข้ามายังประเทศนั้นๆ มีคำจำกัดความ 3 คำ ที่จำเป็นในการศึกษาแหล่งท่องเที่ยว ได้แก่
1. ทรัพยากรทางการท่องเที่ยว (Tourism Resources) สิ่งที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติหรือสิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้น ทั้งที่อยู่ในรูปธรรมและนามธรรม
2. จุดหมายปลายทาง (Destination) สถานที่ใดที่หนึ่ง อาจจะเฉพาะเจาะจงหรืออาจจะเป็นสถานที่ทั่วไป หรืออาจจะเป็นหลายๆสถานที่ ต่อการเดินทางครั้งหนึ่ง
3. สิ่งดึงดูดใจทางการท่องเที่ยว(Tourist Attraction) สถานที่ที่มีศักยภาพในการดึงดูดให้ผู้คนเดินทางเข้าไปเยี่ยมชม หรือประกอบกิจกรรมเพื่อให้ได้รับความพึงพอใจ
ประเภทของแหล่งท่องเที่ยว
ขอบเขต
อาจแบ่งแหล่งท่องเที่ยวเป็น 2 ประเภทตามขอบเขต ได้แก่ จุดมุ่งหมายหลัก (Primary Destination) และจุดมุ่งหมายรอง (Secondary Destination or Stopover Destination)
ความเป็นเจ้าของ
แหล่งท่องเที่ยวทั้งที่เป็นสถานที่ทางธรรมชาติและมนุษย์สร้างขึ้น อาจจัดแบ่งได้ตามความเป็นเจ้าของ ผู้ที่จัดได้ว่าเป็นเจ้าของแหล่งท่องเที่ยวได้แก่ รัฐบาลและเอกชน
ความคงทนถาวร
คือการแบ่งตามอายุของแหล่งท่องเที่ยว ประเภทที่เป็นสถานที่ อาจจะมีความคงทนถาวรกว่าที่เป็นงานเทศกาลหรือกิจกรรมต่างๆ เทศกาลมักมีช่วงเวลาของกาลดำเนินงาน
ศักยภาพในการดึงดูดนักท่องเที่ยว
การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย ได้แบ่งแหล่งท่องเที่ยวออกเป็น 3 ประเภท ได้แก่
1. แหล่งท่องเที่ยวที่เป็นธรรมชาติ
2. แหล่งท่องเที่ยวที่มนุษย์สร้างขึ้น
3. แหล่งท่องเที่ยวที่เป็นศิลปวัฒนธรรม ประเพณี และกิจกรรมของผู้คนในท้องถิ่น
แหล่งท่องเที่ยวที่เป็นธรรมชาติ
สถานที่ที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ ทั้งด้านชีวภาพและกายภาพ รวมทั้งบริเวณที่มนุษย์เข้าไปปรับปรุงในบางส่วน
แหล่งท่องเที่ยวที่มนุษย์สร้างขึ้น
สถานที่ที่มนุษย์สร้างขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์ในการสร้างและอายุ รวมทั้งรูปแบบสถาปัตยกรรมที่แตกต่างกันออกไป
สำหรับโบราณสถานที่มีในประเทศไทยนั้น กรมศิลปากรได้แบ่งออกเป็น 7 ประเภท ได้แก่
1. โบราณสถานสัญลักษณ์แห่งชาติ
2. อนุสาวรีย์แห่งชาติ
3. อาคารสถาปัตยกรรมแห่งชาติ
4. ย่านประวัติศาสตร์
5. อุทยานประวัติศาสตร์แห่งชาติ
6. นครประวัติศาสตร์แห่งชาติ
แหล่งท่องเที่ยว หากไร้ซึ่งแหล่งท่องเที่ยวแล้ว คงไม่มีนักท่องเที่ยวอยากเดินทางเข้ามายังประเทศนั้นๆ มีคำจำกัดความ 3 คำ ที่จำเป็นในการศึกษาแหล่งท่องเที่ยว ได้แก่
1. ทรัพยากรทางการท่องเที่ยว (Tourism Resources) สิ่งที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติหรือสิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้น ทั้งที่อยู่ในรูปธรรมและนามธรรม
2. จุดหมายปลายทาง (Destination) สถานที่ใดที่หนึ่ง อาจจะเฉพาะเจาะจงหรืออาจจะเป็นสถานที่ทั่วไป หรืออาจจะเป็นหลายๆสถานที่ ต่อการเดินทางครั้งหนึ่ง
3. สิ่งดึงดูดใจทางการท่องเที่ยว(Tourist Attraction) สถานที่ที่มีศักยภาพในการดึงดูดให้ผู้คนเดินทางเข้าไปเยี่ยมชม หรือประกอบกิจกรรมเพื่อให้ได้รับความพึงพอใจ
ประเภทของแหล่งท่องเที่ยว
ขอบเขต
อาจแบ่งแหล่งท่องเที่ยวเป็น 2 ประเภทตามขอบเขต ได้แก่ จุดมุ่งหมายหลัก (Primary Destination) และจุดมุ่งหมายรอง (Secondary Destination or Stopover Destination)
ความเป็นเจ้าของ
แหล่งท่องเที่ยวทั้งที่เป็นสถานที่ทางธรรมชาติและมนุษย์สร้างขึ้น อาจจัดแบ่งได้ตามความเป็นเจ้าของ ผู้ที่จัดได้ว่าเป็นเจ้าของแหล่งท่องเที่ยวได้แก่ รัฐบาลและเอกชน
ความคงทนถาวร
คือการแบ่งตามอายุของแหล่งท่องเที่ยว ประเภทที่เป็นสถานที่ อาจจะมีความคงทนถาวรกว่าที่เป็นงานเทศกาลหรือกิจกรรมต่างๆ เทศกาลมักมีช่วงเวลาของกาลดำเนินงาน
ศักยภาพในการดึงดูดนักท่องเที่ยว
การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย ได้แบ่งแหล่งท่องเที่ยวออกเป็น 3 ประเภท ได้แก่
1. แหล่งท่องเที่ยวที่เป็นธรรมชาติ
2. แหล่งท่องเที่ยวที่มนุษย์สร้างขึ้น
3. แหล่งท่องเที่ยวที่เป็นศิลปวัฒนธรรม ประเพณี และกิจกรรมของผู้คนในท้องถิ่น
แหล่งท่องเที่ยวที่เป็นธรรมชาติ
สถานที่ที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ ทั้งด้านชีวภาพและกายภาพ รวมทั้งบริเวณที่มนุษย์เข้าไปปรับปรุงในบางส่วน
แหล่งท่องเที่ยวที่มนุษย์สร้างขึ้น
สถานที่ที่มนุษย์สร้างขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์ในการสร้างและอายุ รวมทั้งรูปแบบสถาปัตยกรรมที่แตกต่างกันออกไป
สำหรับโบราณสถานที่มีในประเทศไทยนั้น กรมศิลปากรได้แบ่งออกเป็น 7 ประเภท ได้แก่
1. โบราณสถานสัญลักษณ์แห่งชาติ
2. อนุสาวรีย์แห่งชาติ
3. อาคารสถาปัตยกรรมแห่งชาติ
4. ย่านประวัติศาสตร์
5. อุทยานประวัติศาสตร์แห่งชาติ
6. นครประวัติศาสตร์แห่งชาติ
7. ซากโบราณสถานและแหล่งโบราณคดีประวัติศาสตร์แห่งชาติ
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น